องค์การบริหารส่วนตำบลสร้างถ่อน้อย

Sangthonoi Subdistrict Administration Organization

​ทรัพยากรธรรมชาติ


ออนไลน์ : 3

หัวข้อ :: ​ทรัพยากรธรรมชาติ

ทรัพยากรธรรมชาติ
 
1 น้ำ
ทรัพยากรน้ำ มีแหล่งน้ำที่สำคัญ คือ ลำเซบาย หนองสามขา ลำห้วยคำมะฮี  ลำห้วยหว้า ซึ่งจะมีปริมาณน้ำตลอดทุกฤดู และอ่างเก็บน้ำที่สำคัญคือ หนองเบน ฝายลำเซบาย

1) แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
– ฝาย                                5        แห่ง
– บ่อน้ำตื้น                          51      แห่ง
– บ่อโยก                                      10      แห่ง

2)  แหล่งน้ำธรรมชาติ
– ลำน้ำ ลำห้วย                     5        แห่ง
– บึง หนองและอื่นๆ                46      แห่ง

2 ป่าไม้
1) ความหลากหลายของระบบนิเวศในแหล่งธรรมชาติ เป็นพื้นที่ป่าเบญจพรรณผสมป่าเต็งรัง มีพันธุ์ไม้หลากหลายชนิด
2) ความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งธรรมชาติ เป็นป่าที่มีพืชสมุนไพรและเห็ดหลากหลายชนิด ชาวบ้านใช้เป็นอาหารและจำหน่ายได้
รายละเอียดการใช้พื้นที่ดังนี้
พื้นที่ทั้งหมด                         57,500  ไร่     หรือ 92 ตารางกิโลเมตร
พื้นที่การเกษตร                     20,349  ไร่     คิดเป็นร้อยละ 35.38
พื้นที่อยู่อาศัย                        7,288  ไร่       คิดเป็นร้อยละ 12.67
พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ               25,000  ไร่     คิดเป็นร้อยละ 43.47
พื้นที่ดินสาธารณะประโยชน์        4,863    ไร่     คิดเป็นร้อยละ 8.45
 
3 ภูเขา
เขตตำบลสร้างถ่อน้อยไม่มีพื้นที่ ที่ติดกับภูเขา

4  คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติจะมีความอุดมสมบูรณ์ในธรรมชาติมาก มีความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นแหล่งทำมาหากินให้กับประชาชนในเขตตำบลสร้างถ่อน้อย
10 สรุปผลการจัดเก็บข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน ปี 2559 ระดับตำบลสร้างถ่อน้อย อำเภอหัวตะพาน จังหวัดอำนาจเจริญ
ตัวชี้วัดข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) จำนวนที่
สำรวจทั้งหมด
ไม่ผ่านเกณฑ์
จำนวน ร้อยละ
หมวดที่ 1 สุขภาพดี (คนไทยมีสุขภาพและอนามัยดี)
มี 7 ตัวชี้วัด
1.    เด็กแรกเกิดมีน้ำหนักไม่น้อยกว่า 2,500 กรัม
2.    เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคครบตามตารางสร้างภูมิคุ้มกันโรค
3.    เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือนแรกติดต่อกัน
4.    ทุกคนในครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย และได้
5.    คนในครัวเรือนมีการใช้ยาเพื่อบำบัด บรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสม
6.    คนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีเพื่อคัดกรองความเสี่ยงฯ
7.    คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที
หมวดที่ 2 มีบ้านอาศัย (คนไทยมีบ้านอาศัยและสภาพแวดล้อมเหมาะสม) มี 8 ตัวชี้วัด
8.    ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย และบ้านมีสภาพคงทนถาวร
9.    ครัวเรือนมีน้ำสะอาดสำหรับดื่มและบริโภคเพียงพอตลอดปี
10.    ครัวเรือนมีน้ำใช้เพียงพอตลอดปี
11.    ครัวเรือนมีการจัดบ้านเรือนเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด ถูกสุขลักษณะ
12.    ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ
13.    ครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี
14.    ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
15.    ครอบครัวมีความอบอุ่น
 
 
 
35 คน
694 คน
 
28 คน
 
1,625 คร.
1,625 คร.
 
3,239 คน
 
5,077 คน
 
 
 
 
1,625 คร.
1,625 คร.
1,625 คร.
1,625 คร.
 
1,625 คร.
1,625 คร.
1,625 คร.1,625 คร.
 
 
 
 
– คน
– คน
 
– คน
 
– คน
– คน
 
– คน
 
– คน
 
 
 
 
4 คน
– คน
– คน
– คน
 
-คร.
– คน
– คน
– คน
 
 
 


 

 


 

 

 
 
 
 
0.24



 



 
 
ตัวชี้วัดข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) จำนวนที่
สำรวจทั้งหมด
ไม่ผ่านเกณฑ์
จำนวน ร้อยละ
หมวดที่ 3 ฝักใฝ่การศึกษา (คนไทยมีการศึกษาที่เหมาะสม)
มี 5 ตัวชี้วัด
16.    เด็กอายุ 3-5 ปีเต็ม ได้รับบริการเลี้ยงดูเตรียมความพร้อมก่อน
วัยเรียน
17.    เด็กอายุ 6-14 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี
18.    เด็กจบชั้น ม.3 ได้เรียนต่อชั้น ม.4 หรือเทียบเท่า
19.    เด็กจบการศึกษาบังคับ 9 ปี ที่ไม่ได้เรียนต่อและยังไม่มีงานทำ
ได้รับการฝึกอบรมด้านอาชีพ
20.    คนอายุ 15-60 ปีเต็ม อ่าน เขียนภาษาไทย และคิดเลขอย่าง
ง่ายได้
 
 
 
150คน
 
609 คน
42 คน
1 คน
 
2,972 คน
 
 
 
 
– คน
 
– คน
1 คน
– คน
 
– คน
 
 
 

 

2.38

 
หมวดที่ 4 รายได้ก้าวหน้า (คนไทยมีงานทำและมีรายได้)
มี 4 ตัวชี้วัด
21.    คนอายุ 15-60 ปีเต็ม มีอาชีพและมีรายได้
22.    คนอายุมากกว่า 60 ปีเต็มขึ้นไป มีอาชีพและมีรายได้
23.    คนในครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ยไม่น้อยกว่าคนละ 30,000 บาท
ต่อปี
24.    ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน
หมวดที่ 5 ปลูกฝังค่านิยมไทย (คนไทยประพฤติดีและมีคุณธรรม) มี 6 ตัวชี้วัด
25.    คนในครัวเรือนไม่ดื่มสุรา (ยกเว้นการดื่มเป็นครั้งคราวฯ)
26.    คนในครัวเรือนไม่สูบบุหรี่
27.    คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
28.    คนสูงอายุ ได้รับการดูแลจากคนในครัวเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน หรือภาครัฐ
29.    คนพิการ ได้รับการดูแลจากคนในครัวเรือน หมู่บ้าน/ชุมชน หรือภาครัฐ
30.    คนในครัวเรือนมีส่วนร่วมทำกิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของชุมชน
 
 
 
2,798 คน
1,001 คน
1,625คร.
 
1,625คร.
 
 
 
5,303 คน
5,303 คน
5,077 คน
 
1,137 คน
 
176 คน
 
1,625คร.
 
 
 
72 คน
20 คน
-คร.
 
-คร.
 
 
 
431 คน
451 คน
7 คน
 
– คน
 
– คน
 
– คร.
 
 
 
2.57
2.00

 

 
 
 
8.13
8.50
0.14
 

 

 

 
 
วันที่ : 27 พฤศจิกายน 2561   View : 2939